บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2015

Base Map

มาทำความรู้จัก Base Map กันหน่อย             หลายคนที่ใช้งาน Google API สังเกตว่ามี Base Map แต่ละแบบให้เลือกใช้งาน การเลือกใช้งานก็ขึ้นอยู่กับวัตุประสงค์ในการใช้งานเป็น Base Map  วันนนี้จะพาไปรู้จักกับ Basemap กัน 1. Style Map  เป็นแผนที่ฐานที่ผ่านการปรับแต่งรายละเอียดของแผนที่ให้เหมาะสมกับการแสดงผลของระบบ 2. Road Map  แผนที่ฐานเน้นเส้นถนนเป็นหลัก ทำให้ผู้ใช้งานทราบถึงถนนหลัก ถนนรอง 3. Terrain Map แผนที่ฐานแสดงข้อมูลภูมิประเทศ(ความสูง) ช่วยให้ทราบถึงความสูงของพื้นที่ว่าอยู่ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลเท่าไหร่ (แสดงในรูปแบบเส้นชั้นความสูง) 4. Satellite Map แผนที่ฐานภาพถ่ายดาวเทียม ช่วยทำให้ผู้ใช้งานมองเห็นสภาพพื้นที่จริงว่าเป็นพื้นที่ใด เช่น ป่าไม้ แหล่งน้ำ หมู่บ้าน เป็นต้น 5. Hybrid Map  แผนที่ฐานที่รวมระหว่างข้อมูลสถานที่สำคัญ ชื่อถนน กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม 6. Plain Map แผนที่แบบพื้นสีขาว ประโยชน์ในการแสดงผลของชั้นข้อมูลแผนที่ เช่น ตำแหน่งโรงแรม สถานที่ท่องเที่ยว ท่าเรือ หรือพื้นที่เหมาะสมด้านการลงทุน โดยไม่มีพื้นที่หลัง 7. Open Street Map แผนที่ฐานที่แสดงข้อมูลสถานที่สำคัญต

Geoserver

รูปภาพ
                  Geoserver  เป็นเป็นซอฟต์แวร์ฟรีและ open source ทางด้านการพัฒนาข้อมูลภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกกันว่า Web Map Service ซึ่ง GeoServer ถูกพัฒนาโดยภาษา JAVA และแน่นอนก่อนที่เราจะใช้งานเจ้าโปรแกรมนี้จะต้องอาศัย JRE (Java Runtime Environment)     R equest  สรุปความแตกต่างของ 3 ตัว •   WMS: Web Map Service   จะเป็นการใช้งานร้องการข้อมูลลักษณะของแผนที่ต่างๆ ที่มีค่าพิกัดของข้อมูลแผนที่อยู่ ด้วย   Format ต่าง ๆ ประกอบด้วย PNG, GIF หรือ JPEG • WFS: Web Feature Service จะเป็นการร้องขอข้อมูลที่เป็นข้อมูลลักษณะแผนที่ทีเป็นฐานข้อมูล Shape file โดยผู้ใช้สามารถที่จะปรับแก้และ save ข้อมูลเป็นไฟล์ต่างๆได้ • WCS: Web Coverage Service จะเป็นการร้องข้อข้อมูลที่เป็นข้อมูล Raster ที่เป็นข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมหรือข้อมูลแผนที่ที่มีลักษณะเป็นกริดภาพ     GetMap         http://localhost:8080/geoserver/Bank/wms?service=WMS &version=1.1.0 &request= GetMap&layers = Bank:Hospital &styles=& bbox =97.73904506576424,5.

Query, measurement and transformation

Query, measurement and transformation - การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญของงาน GIS ที่จะทำให้ข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์มีคุณค่ามากขึ้น และนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ - การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ ที่มีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่ผู้ใช้ได้รับจะมีประโยชน์มาก ซึ่งไม่เพียงแต่การทำงานผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ยังสามารถนำไปใช้งานเพื่อต่อยอดด้านอื่นๆได้ เช่น ด้านการค้า การคมนาคม เป็นต้น - การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial analysis) เป็นกลุ่มหรือเซตของวิธีการที่ทำให้ผลการวิเคราะห์มีความแม่นยำภายใต้ความเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ - การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial analysis) เป็นวิธีการการวิเคราะห์ ซึ่งผลของการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้น เมื่อประเภทวัตถุที่ต้องการวิเคราะห์ หรือ เมื่อตำแหน่งของประเภทวัตถุที่วิเคราะห์เปลี่ยนแปลงไป ภาษาคำสั่งที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ คือ ภาษาคำสั่ง SQL: Structured Query Language ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการสืบค้นและจัดการฐานข้อมูล เช่น CREATE, INSERTINTO, DELETE FROM, SELECT… FROM เป็นต้น การทำ Buffer เป็นกระบวนการหนึ่งที่สำคัญที่ประโยชน์มากในการแปลงข้อมูลในการทำ GIS ซึ่งสามารถก

Geovisualization : การนำเสนอเชิงตำแหน่งที่ตั้ง

 Geovisualization : การนำเสนอเชิงตำแหน่งที่ตั้ง วัตถุประสงค์เพื่อทำให้ผู้ใช้ ค้นหา สังเคราะห์ นำเสนอ และวิเคราะห์ข้อมูลแผนที่นอกเหนือจากสิ่งที่ผู้ใช้มองเห็น เช่น ข้อมูล DEM ขุดบ่อบาดาล ทำให้ทราบจำนวนบ่อที่มีการขุดเจาะ ความลึก บริเวณที่ขุดเจาะ ขนาดของบ่อ จนถึงการวิเคราะห์ประเภทการใช้งาน , การจับสัญญาณโทรศัพท์ของคนในสนามฟุตบอล ว่ามีกี่คน ทำให้สามารถประเมิณความเสียหายได้ หากเกิดอันตราย Classification Method 1. Manual: ผู้ใช้กำหนดชั้นข้อมูล จุดเริ่มต้นการจำแนก ตัดทอนชั้นข้อมูล หรือ อัตราส่วนของช่วงชั้นข้อมูลได้เอง 2. Equal Interval: แบ่งตามข้อมูลที่ชั้นข้อมูลกว้างเท่ากัน คือ อันตราภาคชั้น = พิสัยข้อมูล /จำนวนชั้น 3. Define Interval: แบ่งตามการกำหนดขนาดของช่วงเวลาโดยระบุชุดข้อมูลในแต่ละชั้นข้อมูลด้วยอัตราส่วนเดียวกัน เช่น 1% - 4%, 5% - 8% … 4. Quantile : ข้อมูลต้องจัดเรียงลำดับค่าเอาไว้ก่อนถูกแบ่ง โดยแต่ละชั้นข้อมูลมีจำนวนข้อมูลเท่าๆกัน ซึ่งจำนวนข้อมูลที่มากกว่าและน้อยกว่ามัธยฐานจะมีจำนวนเท่าๆกัน 5. Natural Breaks: แบ่งตามจุดเปลี่ยนของข้อมูล ซึ่งการกำหนดให้แบ่งช่วงของข้อมูล โดยโปรแ

Cartography and Map production

Cartography and Map production  การผลิตแผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิตอล แผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิตอลต่างมีความสำคัญต่อการใช้งานด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อมและ ด้านสังคม กระบวนทาง GIS ที่จำเป็นสำหรับการสร้างแผนที่ 1. Collection: การรวบรวมข้อมูล เช่น การเก็บค่าพิกัด, นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงาน 2. Editing/Maintenance: การแก้ไขและปรับปรุง เพื่อให้ได้ข้อมูลตรงกับความต้องการในการใช้งาน เช่น การแยกชั้นข้อมูล 3. Management: การจัดการข้อมูล 4. Analysis: การวิเคราะห์เพื่อแสดงผลลัพธ์ 5. Output :การแสดงผลลัพธ์ Map design process: ขั้นตอนการออกแบบแผนที่ 1. Purpose: จุดประสงค์ของการทำแผนที่ เพื่ออะไร 2. Reality: ความเป็นไปได้สามารถทำได้จริงหรือไม่ 3. Available data: ข้อมูลที่มีอยู่เพียงพอหรือไม่ 4. Map scale: มาตราส่วนของแผนที่ 5. Audience: กลุ่มเป้าหมายที่ใช้งาน 6. Conditions of use: ข้อจำกัดทางเทคนิค “GISมีความหยืดหยุ่นสำหรับการทำแผนที่ ที่หลากหลายประเภท” ทำไม GIS ถึงมีประโยชน์ต่อสำหรับการทำแผนที่ (ข้อจำกัดของแผนที่กระดาษ) 1. ข้อจำกัดด้านขนาด และแก้ไขยาก 2. การขยายขอบเขตหรือการรวมแผนท

GeoWeb

GeoWeb การใช้งานระบบปฎิบัติการด้าน GIS กับ Mobile software หรือ Application บนโลกอินเตอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งาน GIS ได้ทุกทีทุกเวลา วิธีการประยุกต์ใช้งาน GIS 1.ใช้เพื่อเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยตัวรับสัญญาน GPS สำหรับเก็บค่าพิกัดภูมิศาตร์ 2.รวบรวมข้อมูลจากภาคสนามเพื่อใช้ประโยชน์เชิงสถิติสำหรับหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชน 3.เพื่อติดตามงานจากการเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่เช่นการส่งพัสดุตามที่อยู่ของลูกค้า การใช้งาน (Distributed GIS) ประกอบ 6 ส่วนซึ่งอาจจะแตกต่างกันตามพื้นที่ 1. Hardware 2. Software 3. Data 4. User 5. Network 6. Procedure Location-Base services (LBS)คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริการข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่แสดงค่าพิกัดของสถานที่ที่ใช้งานและสามารถแก้ไขข้อมูลเพื่อเพิ่มชั้นฐานข้อมูลได้ (Knowledge) เช่น อุปกรณ์ laptop ที่เชื่อมต่อ PCMCIA Card (เครื่องรูดบัตร), RFID (ระบบชี้เฉพาะอัตโนมัติแบบไร้สาย),TELLME Application โดยส่วนใหญ่ LBS บริการแบบ Realtime ปัจจัยของการทำงานของ LBS แบ่งเป็นสองส่วนคือ 1. Active LBS systems: ระบบที่ตอบผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ ที่เป็นฝ่ายรับข้อ

โค๊ดสำหรับคนหัดเขียน OpenLayer API

รูปภาพ
 โค๊ดสำหรับคนมือใหม่ฝึกเขียน  OpenLayer API <html> <head> <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"> <title>OpenLaye</title> <meta http-equiv="content-type" content="text/html; charset=ISO-8859-1"> <script type='text/javascript' src='http://www.openlayers.org/api/OpenLayers.js'>      </script> <script type="text/javascript" src="http://maps.googleapis.com/maps/api/js?sensor=false"></script> <link rel="stylesheet" href="ol.css" type="text/css"> </head> <body> <div id="map" class="smallmap"></div>     <script>     //Defining projections         var geographic = new OpenLayers.Projection("EPSG:4326");         var mercator = new OpenLayers.Projection("EPSG:900913");     //Defining bounds            var wo

คำสั่งเบื้องต้นสำหรับการใช้งานดาต้าเบส ในโปรแกรม Postgres

คำสั่งเบื้องต้นสำหรับการใช้งานดาต้าเบส ในโปรแกรม Postgres ----CREATE DATABASE ------- CREATE DATABASE "Bannk" WITH ENCODING='UTF8' CONNECTION LIMIT=-1;   ----select DATA------ select*from TestTable select*from TestTable where title like 'sattawat' select*from TestTable where title like 'sattawat' OR title like 'Arab' ------CREATE TABLE array---- CREATE TABLE array_int ( vector int[][] ); ------ALTER TABLE array---- ALTER TABLE array_int ADD COLUMN id inet NOT NULL; ------CREATE TABLE--------- CREATE TABLE TestTable ( code char(5), title varchar(40), CONSTRAINT code PRIMARY KEY(code) ); ---------ALTER TABLE--------- ALTER TABLE public.TestTable ADD COLUMN "Name" varchar(100); -------INSERT INTO------ INSERT INTO TestTable (code, title) VALUES (1, 'sattawat'), (2, 'Arab'); ----------- UPDATE--------- UPDATE TestTable SET code = '11' WHERE code = '1';

Reclassify Rater Data In QGIS

รูปภาพ
Reclassify ทางด้าน GIS  การ Reclassify หมายถึง การจัดกลุ่มประเภทของข้อมูลใหม่  โดยอาศักค่าข้อมูลเดิมที่มีอยู่มาใช้ในการจัดประเภทของข้อมูลตามที่ต้องการ เช่น ต้องการแยกค่าความชันออกเป็นช่วงของความชันจาก 0 – 15 ให้อยู่ในกลุ่มข้อมูลที่ 1 ช่วงความชัน มากกว่า 15 – 30 ให้อยู่ในกลุ่มข้อมูลที่ 2 ช่วงความชัน มากกว่า 30 – 60 ให้อยู่ในกลุ่มข้อมูลที่ 3 ช่วงความชัน มากกว่า 60 ให้อยู่ในกลุ่มข้อมูล ที่  4 หรือให้ค่าที่กลับกัน (invert) ก็ได้ขึ้นอยู่กับผู้วิเคราะห์  ประโยชน์ของการ Reclassify ข้อมูลที่ผ่านการจัดกลุ่มใหม่แล้วสามรถนำไปใช้ในการวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะ สม  หรือ นำไปใช้ในการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติต่างๆได้   sattawat arab   

การจำลองข้อมูล 3 มิติ

รูปภาพ
การจำลองข้อมูล 3 มิติ โดยใช้โปรแกรมQGIS                การจำลองเหตุการณ์ภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม รวมถึง การกำหนดโซนนิ่ง ต่างๆ สามารถใช้โปรแกรม ทางด้าน GIS มาวิเคราะห์ข้อมูลตามเงื่อนไขที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้ได้โซนพื้นที่ตามที่ต้องการ และการแสดงผลข้อมูลก็มีส่วนสำคัญ เช่น ดังนั้นการแสดงผลข้อมูลแบบ 3 มิติ จะช่วยให้ผู้งานมีความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่นำเสนอได้ดีขึ้น โปรแกรม QGIS ในปัจจุบันมีปลั๊กอินที่รองรับการแสดงผลข้อมูล 3 มิติ โดยใช้ปลั๊กอินเสริมที่ชื่อว่า Qgis2threejs มาใช้ในการแสดงผลข้อมูล วันนี้จะนำตัวอย่างหารแสดงผลข้อมูล Point line Polygon พื้นที่จังหวัดภูเก็ต มาให้ดูกัน ข้อมูลจะเป็นข้อมูลบางส่วนของ ม.วิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ข้อมูลที่ใช้สำหรับการแสดงผล ข้อมูล DEM อันนี้สำคัญมาก ข้อมูลเวกเตอร์ หรือ ราสเตอร์ที่ต้องการแสดงผล ภาพพื้นหลังสำหรับใช้เป็นฐานของพื้นที่ ปลั๊กอิน Qgis2threejs เมื่อทำการแสดงผลข้อมูล ข้อมูลที่ถูกจัดเก๊บไปยังพื้นที่ที่เราจัดเก็บข้อมูล ลองนำไปใช้กันดูนะครับ คงจะมีประโยชน์สำหรับหลายๆ ท่านที่ต้องการศึกษาความรู้ทางด้านนี้

การเรียกใช้ Web Map Service

รูปภาพ
การเรียกใช้ Web Map Service Web Map Service (WMS) เป็นระบบให้บริการข้อมูลภูมิ สารสนเทศผ่านเครือข่าย Internet/Intranet ซึ่งมีมาตรฐานกำหนดและสร้างขึ้นโดย Open GIS Consortium (OGC) ที่ได้กำหนดการบริการข้อมูลภูมิสารสนเทศใน Format ต่าง ๆ ประกอบด้วย PNG, GIF หรือ JPEG มาตรฐาน การรองรับการร้องขอบริการจากผู้ใช้ โดยมีรายละเอียดใน 3 ลักษณะดังนี้ –         GetCapabilities จะส่งค่าการให้บริการ ในส่วนของ Metadata ซึ่งเป็นตัวอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของ ข้อมูลที่ให้บริการและการยอมรับค่าตัวแปรต่าง ๆ –         GetMap จะเป็นการส่งภาพแผนที่ซึ่งสามารถระบุชั้นข้อมูล ขนาดของภาพแผนที่และลักษณะของภาพ แผนที่ได้ ซึ่งรูปแผนที่แสดงภาพในรูปแบบ PNG, GIF หรือ JPEG –         GetFeatureInfo มาตรฐานตัวนี้จะเป็น Option ในการร้องขอข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของข้อมูลในแผนที่ การเรียกใช้งานข้อมูล Web Map Service (WMS) และ Web Feature Service (WFS) โดยใช้โปรแกรม QGIS สามารถทำได้ดังนี้ ** Add WMS / WMTS Layer >> request map>>Connect>>Add map  

การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Interpolation)

รูปภาพ
การประมาณค่าเชิงพื้นที่ ( Interpolation) การประมาณค่าเชิงพื้นที่ ( Spatial Interpolation) หมายถึงกระบวนการของการใช้ข้อมูลจุดที่ทราบค่า ไปใช้ในการประมาณค่าพื้นที่ที่ยังไม่ทราบของจุด (พื้นที่) อื่นๆ ข้อมูลที่นิยมใช้ในการประมาณค่าเชิงพื้นที่ 1.        ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ( Meteorological Data) เช่น นํ้าฝน อุณหภูมิ และการระเหย 2.        ภูมิประเทศ ( Topography) เช่น ความสูงตํ่า 3.        การสะสมของหิมะ ( Snow Accumulation) 4.        ระดับนํ้า ( Water Table) 5.        ความหนาแน่นประชากร ( Population Density) จุดควบคุม ( Control Points) จุดควบคุม หมายถึงจุดที่ทราบค่า สำหรับการนำค่าเหล่านั้นมาคำนวณเพื่อประมาณค่าจุดพื้นที่ อื่นๆ ที่ยังไม่ทราบค่า   จำนวนและการกระจาย ของจุดควบคุมมีผลต่อความถูกต้องของกา รประ มาณค่าสมมติฐานของการประมาณค่า คือจุดควบคุมที่อยู่ใกล้มีอิทธิพลต่อค่าที่ถูกประมาณมากกว่าจุดควบคุมที่อยู่ไกล บริเวณที่มีจำนวนข้อมูลที่ทราบน้อย หรือไม่มีข้อมูลที่ทราบค่า ( data-po or area) มักมีปัญหาต่อการประมาณค่าเชิงพื้นที่ ตัวอย่างการใช้งานการประมาณค่าเชิงพื้น