บทความ

การนำเข้าข้อมูล GPX

รูปภาพ
  การนำเข้าข้อมูล GPX ข้อมูลที่ได้จากเครื่อง GPS ส่วนใหญ่จะบันทึกข้อมูลเป็บไฟล์แบบ GPX การนำไฟล์มาใช้งานสามารถทำได้ดังนี้ กดปุ่ม Add Vector Layer เลือกตรง File สำหรับการเลือกเปิดข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ กดปุ่ม Browse เพื่อเลือกข้อมูลที่ต้องการเปิด จากโฟลเดอร์ GPX เลือกชั้นข้อมูล Waypoints_23-JAN-15 และกดปุ่ม Open สำหรับการเปิดข้อมูล เลือกประเภทของข้อมูลที่ต้องการเปิด ชั้นข้อมูล Point ที่แสดงบนหน้าจอ Map Display หมายเหตุ : การบันทึกข้อมูลจากไฟล์ GPX ที่นำเข้ามาให้อยู่ในรูปแบบของ Shapefile สามารถทำได้โดยวิธีการ Save as เป็นข้อมูล Shapefile กำหนดให้เก็บข้อมูลไว้ที่ Lab/GPX ตั้งชื่อไฟล์ ExportGPX.shp

การเพิ่ม แก้ไข ลบ และ อัปเดท ตารางของข้อม

รูปภาพ
  การเพิ่ม แก้ไข ลบ และ อัปเดท ตารางของข้อมูล วิธีการ เปิดตาราง Attribute คลิกที่ปุ่ม  Toggle editing mode สามารถแก้ไขและอัพเดทข้อมูลต่าง ๆ ลงไปในตารางได้เลย เมื่อต้องการ save ข้อมูลที่แก้ไข ให้กดปุ่ม  Toggle editing mode โปรแกรมจะถามต้องการบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหรือไม่ ให้ตอบ Yes เพื่อบันทึก ก่อนการแก้ไขข้อมูล หลังแก้ข้อมูล 9.1 การเพิ่มคอลัมน์ วิธีการ เปิดตารางชั้นข้อมูล Point เลือก Toggle editing mode >>  Add field กำหนดรายละเอียด Name: Province Type: Text Length: 50    สร้างคอลัมน์ X และ Y ให้กับชั้นข้อมูล Point กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2    สร้างคอลัมน์ Length ให้กับชั้นข้อมูล Line กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2    สร้างคอลัมน์ Area ให้กับชั้นข้อมูล Polygon กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2 9.2 การลบคอลัมน์ วิธีการ เปิดตารางชั้นข้อมูล เลือก Toggle editing mode  Delete field 9.3 การอัปเดทชื่

map 4km

 ตัวอย่างการพัฒนาเว็บไซด์อย่างอย่าง โดยใช้  html, css และ Javascript GIS Show Location Buffer (4 km.)

การสร้างข้อมูล Shapefile (Digitizing)

รูปภาพ
  การสร้างข้อมูล Shapefile (Digitizing) ดิจิไทซ์ (Digitizing) หมายถึง การสร้างข้อมูลเวกเตอร์โดยการคัดลอกลายแผนที่ฐานต้นฉบับ เช่น ภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ภูมิประเทศ เป็นต้น มาสร้างเป็นข้อมูลเวกเตอร์ คือจุด , เส้น และข้อมูลรูปพื้นที่ เช่น เส้นทางถนน อาคารต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญ ๆ เป็นต้น วิธีการ เปิดชั้น Base map เลือกประเภท Base map เป็นแบบ OpenStreetMap กดปุ่ม Layer >> Create Layer >> New Shapefile Layer ที่หน้าต่าง New Shapefile Layer แสดงขึ้นมา การกำหนดค่า File name >> ชื่อไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บข้อมูล LAB/CreateShpefile ตั้งชื่อ Point File encoding >> เลือกเป็น system Geometry type >> ประเภทของข้อมูลให้เลือกเป็น Point EPSG >> 32647-WGS 84/UTM zone 47 N การสร้างคอลัมน์ข้อมูล โดยการกดปุ่ม Add attribute list กำหนดให้สร้าง 2 Field คือ ID และ Name โดยกำหนดแต่ละคอลัมน์ดังนี้ ID เก็บเป็นแบบ Whole number ขนาด 10.0 Name เก็บแบบ Text data ขนาด 100 หลังจากกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ และกด