บทความ

การนำเข้าข้อมูล GPX

รูปภาพ
  การนำเข้าข้อมูล GPX ข้อมูลที่ได้จากเครื่อง GPS ส่วนใหญ่จะบันทึกข้อมูลเป็บไฟล์แบบ GPX การนำไฟล์มาใช้งานสามารถทำได้ดังนี้ กดปุ่ม Add Vector Layer เลือกตรง File สำหรับการเลือกเปิดข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ กดปุ่ม Browse เพื่อเลือกข้อมูลที่ต้องการเปิด จากโฟลเดอร์ GPX เลือกชั้นข้อมูล Waypoints_23-JAN-15 และกดปุ่ม Open สำหรับการเปิดข้อมูล เลือกประเภทของข้อมูลที่ต้องการเปิด ชั้นข้อมูล Point ที่แสดงบนหน้าจอ Map Display หมายเหตุ : การบันทึกข้อมูลจากไฟล์ GPX ที่นำเข้ามาให้อยู่ในรูปแบบของ Shapefile สามารถทำได้โดยวิธีการ Save as เป็นข้อมูล Shapefile กำหนดให้เก็บข้อมูลไว้ที่ Lab/GPX ตั้งชื่อไฟล์ ExportGPX.shp

การเพิ่ม แก้ไข ลบ และ อัปเดท ตารางของข้อม

รูปภาพ
  การเพิ่ม แก้ไข ลบ และ อัปเดท ตารางของข้อมูล วิธีการ เปิดตาราง Attribute คลิกที่ปุ่ม  Toggle editing mode สามารถแก้ไขและอัพเดทข้อมูลต่าง ๆ ลงไปในตารางได้เลย เมื่อต้องการ save ข้อมูลที่แก้ไข ให้กดปุ่ม  Toggle editing mode โปรแกรมจะถามต้องการบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหรือไม่ ให้ตอบ Yes เพื่อบันทึก ก่อนการแก้ไขข้อมูล หลังแก้ข้อมูล 9.1 การเพิ่มคอลัมน์ วิธีการ เปิดตารางชั้นข้อมูล Point เลือก Toggle editing mode >>  Add field กำหนดรายละเอียด Name: Province Type: Text Length: 50    สร้างคอลัมน์ X และ Y ให้กับชั้นข้อมูล Point กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2    สร้างคอลัมน์ Length ให้กับชั้นข้อมูล Line กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2    สร้างคอลัมน์ Area ให้กับชั้นข้อมูล Polygon กำหนดรายละเอียด Type: Decimal namber (real) Width = 10, Precision = 2 9.2 การลบคอลัมน์ วิธีการ เปิดตารางชั้นข้อมูล เลือก Toggl...

map 4km

 ตัวอย่างการพัฒนาเว็บไซด์อย่างอย่าง โดยใช้  html, css และ Javascript GIS Show Location Buffer (4 km.)

การสร้างข้อมูล Shapefile (Digitizing)

รูปภาพ
  การสร้างข้อมูล Shapefile (Digitizing) ดิจิไทซ์ (Digitizing) หมายถึง การสร้างข้อมูลเวกเตอร์โดยการคัดลอกลายแผนที่ฐานต้นฉบับ เช่น ภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ภูมิประเทศ เป็นต้น มาสร้างเป็นข้อมูลเวกเตอร์ คือจุด , เส้น และข้อมูลรูปพื้นที่ เช่น เส้นทางถนน อาคารต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญ ๆ เป็นต้น วิธีการ เปิดชั้น Base map เลือกประเภท Base map เป็นแบบ OpenStreetMap กดปุ่ม Layer >> Create Layer >> New Shapefile Layer ที่หน้าต่าง New Shapefile Layer แสดงขึ้นมา การกำหนดค่า File name >> ชื่อไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บข้อมูล LAB/CreateShpefile ตั้งชื่อ Point File encoding >> เลือกเป็น system Geometry type >> ประเภทของข้อมูลให้เลือกเป็น Point EPSG >> 32647-WGS 84/UTM zone 47 N การสร้างคอลัมน์ข้อมูล โดยการกดปุ่ม Add attribute list กำหนดให้สร้าง 2 Field คือ ID และ Name โดยกำหนดแต่ละคอลัมน์ดังนี้ ID เก็บเป็นแบบ Whole number ขนาด 10.0 Name เก็บแบบ Text data ขนาด 100 หลังจากกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ แ...